ทำไมเหล็กเส้นข้ออ้อย SD50 ถึงทนทานกว่าเหล็กชนิดอื่น

ทำไมเหล็กเส้นข้ออ้อย SD50 ถึงทนทานกว่าเหล็กชนิดอื่น

ทำไมเหล็กเส้นข้ออ้อย SD50 ถึงทนทานกว่าเหล็กชนิดอื่น ทำไมเหล็กเส้นข้ออ้อย SD50 ถึงทนทานกว่าเหล็กชนิดอื่น ในปัจจุบันนี้งานก่อสร้างที่เป็นโครงสร้างอาคารต่าง ๆ ไม่ว่าจะเป็น โครงสร้างอาคารสำนักงาน โครงสร้างบ้าน เป็นต้น จะนิยมนำเหล็กเส้นข้ออ้อยมาเสริมกับคอนกรีต เนื่องจากเหล็กเส้นข้ออ้อยที่นำมาเสริมคอนกรีตจะช่วยทำให้โครงสร้างต่าง ๆ มีความแข็งแรง ยืดหยุ่น และใช้ระยะเวลาในการก่อสร้างไม่นาน เหล็กเส้นข้ออ้อยส่วนประกอบสำคัญในโครงสร้างอาคาร เทคนิคเลือกเหล็กเส้นข้ออ้อยให้ได้คุณภาพดี…

ทำไมตะแกรงเหล็กไวร์เมชถึงช่วยลดต้นทุนในการก่อสร้าง

ทำไมตะแกรงเหล็กไวร์เมชถึงช่วยลดต้นทุนในการก่อสร้าง

ทำไมตะแกรงเหล็กไวร์เมชถึงช่วยลดต้นทุนในการก่อสร้าง ทำไมตะแกรงเหล็กไวร์เมชถึงช่วยลดต้นทุนในการก่อสร้าง สำหรับในงานก่อสร้างหลาย ๆ คนก็คงจะเคยได้ยินเกี่ยวกับตะแกรงเหล็กไวร์เมชกันมาบ้างแล้ว และทุกคนรู้หรือไม่ว่าทำไมตะแกรงเหล็กไวร์เมชถึงสามารถช่วยลดต้นทุนในการก่อสร้างได้ หากใครที่ยังไม่รู้วันนี้แอดมินมีคำตอบมาบอกกันค่ะ รู้ก่อนซื้อ เหล็กเส้นคืออะไร เลือกใช้เหล็กเส้นให้ถูกเพื่อบ้านที่แข็งแรง เหล็กเส้นข้ออ้อยที่มีสัญลักษณ์ตัว T และไม่มีตัว T ต่างกันอย่างไร ตะแกรงเหล็กไวร์เมชคืออะไร ตะแกรงเหล็กไวร์เมช คือ ตะแกรงเหล็กสำเร็จรูปที่ทำมาจากเหล็กเส้นกลม โดยการนำเหล็กเส้นกลมมาเชื่อมต่อกันเป็นลักษณะตาข่ายรูปสี่เหลี่ยม โดยมีขนาดช่องประมาณ…

คุณสมบัติเหล็กเส้นกลมกับงานก่อสร้าง

คุณสมบัติเหล็กเส้นกลมกับงานก่อสร้าง

คุณสมบัติเหล็กเส้นกลมกับงานก่อสร้าง คุณสมบัติเหล็กเส้นกลมกับงานก่อสร้าง สำหรับเหล็กเส้นกลมจะเป็นเหล็กที่ใช้ในการเสริมคอนกรีต หรือใช้ในงานก่อสร้าง ซึ่งเป็นเหล็กที่แยกประเภทออกมาจากเหล็กเส้น มีลักษณะกลม ผิวเรียบ ไม่บิดเบี้ยว โดยจะเน้นในส่วนของงานคอนกรีตมากกว่างานเหล็ก แล้วคุณรู้หรือไม่ว่าเหล็กเส้นกลมมีคุณสมบัติอะไรบ้าง หากใครที่ยังไม่รู้วันนี้แอดมินมีคำตอบมาฝากกันค่ะ เหล็กเส้นกลมเหมาะสำหรับงานก่อสร้างแบบใดบ้าง เทคนิคการเลือกเหล็กเส้นกลมไปใช้ในงานก่อสร้าง เหล็กเส้นยาวกี่เมตร คุณสมบัติของเหล็กเส้นกลม เหล็กเส้นกลมมีความแข็งแรง และทนทาน สามารถป้องกันการกัดกร่อน และการเกิดสนิมในเหล็กเส้นกลมได้ เหล็กเส้นกลมมีหลายขนาด…

มาทำความรู้จักสัญลักษณ์ตัว T บนเหล็กเส้นข้ออ้อยกันเถอะ

มาทำความรู้จักสัญลักษณ์ตัว T บนเหล็กเส้นข้ออ้อยกันเถอะ

มาทำความรู้จักสัญลักษณ์ตัว T บนเหล็กเส้นข้ออ้อยกันเถอะ มาทำความรู้จักสัญลักษณ์ตัว T บนเหล็กเส้นข้ออ้อยกันเถอะ สำหรับใครที่นำเหล็กเส้นข้ออ้อยไปใช้ในงานก่อสร้าง เคยสังเกตกันไหมคะ ว่าเหล็กเส้นข้ออ้อยจะมีสัญลักษณ์ตัว T อยู่บนเนื้อเหล็กด้วย แล้วทุกคนรู้หรือไม่ว่าตัว T บนเนื้อเหล็กเส้นข้ออ้อยคืออะไร หากใครที่ไม่รู้วันนี้แอดมินมีคำตอบมาบอกกันค่ะ เหล็กเส้นข้ออ้อยส่วนประกอบสำคัญในโครงสร้างอาคาร เทคนิคเลือกเหล็กเส้นข้ออ้อยให้ได้คุณภาพดี เหล็กข้ออ้อย SD50 ทำไมถึงรับแรงดึงได้สูงกว่าเหล็กเส้นชนิดอื่น สัญลักษณ์ตัว T บนเหล็กเส้นข้ออ้อยคือ…

ทำไมเหล็กเส้นข้ออ้อย SD50 ต้องผ่านกระบวนการ EFA

ทำไมเหล็กเส้นข้ออ้อย SD50 ต้องผ่านกระบวนการ EFA

ทำไมเหล็กเส้นข้ออ้อย SD50 ต้องผ่านกระบวนการ EFA ทำไมเหล็กเส้นข้ออ้อย SD50 ต้องผ่านกระบวนการ EFA สำหรับเหล็กเส้นข้ออ้อยแอดมินเชื่อว่าหลาย ๆ คนก็คงจะรู้จักกันอยู่แล้ว แต่ว่าทุกคนรู้หรือไม่ว่าเหล็กเส้นข้ออ้อย SD50 ทำไมถึงต้องผ่านกระบวนการ EFA ก่อน หากใครที่ยังไม่รู้วันนี้แอดมินมีคำตอบมาฝากกันค่ะ เหล็กเส้นข้ออ้อยส่วนประกอบสำคัญในโครงสร้างอาคาร เทคนิคเลือกเหล็กเส้นข้ออ้อยให้ได้คุณภาพดี เหล็กเส้นราคาเท่าไหร่…

เคล็ดลับดี ๆ ในการทำธุรกิจรับเหมาก่อสร้างช่วงเริ่มต้น

เคล็ดลับดี ๆ ในการทำธุรกิจรับเหมาก่อสร้างช่วงเริ่มต้น

เคล็ดลับดี ๆ ในการทำธุรกิจรับเหมาก่อสร้างช่วงเริ่มต้น เคล็ดลับดี ๆ ในการทำธุรกิจรับเหมาก่อสร้างช่วงเริ่มต้น ในการเริ่มต้นทำธุรกิจไม่ว่าจะเป็นธุรกิจอะไรแน่นอนว่าในช่วงเริ่มต้นจะต้องมีปัญหาเข้ามาให้แก้ไขตลอด ไม่ว่าจะเป็นธุรกิจขนาดเล็ก หรือขนาดใหญ่ ไม่เว้นแต่ธุรกิจรับเหมาก่อสร้าง เนื่องจากเป็นธุรกิจที่ต้องประสานงานกันหลายฝ่ายมาก ๆ ถ้าหากเราทำสำเร็จผลตอบแทนก็จะสูงขึ้นไปด้วย ซึ่งวันนี้แอดมินมีเคล็ดลับดี ๆ ในการทำธุรกิจก่อสร้างในช่วงเริ่มต้นมาฝากกันค่ะ เลือกใช้เหล็กเส้นให้ถูกเพื่อบ้านที่แข็งแรง สร้างบ้านด้วยเหล็กกล่องดีหรือไม่ บ้านโครงสร้างเหล็กกล่องทนหรือไม่ การทำธุรกิจรับเหมาก่อสร้างควรเริ่มจากอะไรบ้าง…

เหล็กเส้นเสริมคอนกรีตคืออะไร

เหล็กเส้นเสริมคอนกรีตคืออะไร

เหล็กเส้นเสริมคอนกรีตคืออะไร เหล็กเส้นเสริมคอนกรีตคืออะไร สำหรับเหล็กเส้นเสริมคอนกรีตก่อนที่เราจะนำไปใช้งานนั้น คุณรู้หรือไม่ว่าเหล็กเส้นเสริมคอนกรีตคืออะไรมีประโยชน์อย่างไร หากใครที่ยังไม่รู้วันนี้แอดมินมีคำตอบมาบอกกันนะคะ จะเป็นอย่างไรไปดูกันเลยค่ะ เหล็กเส้นเสริมคอนกรีตคือ เหล็กเส้นเสริมคอนกรีตก็คือ เหล็กเส้นกลม หรือเหล็กเส้นข้ออ้อยที่มีขนาดเส้นผ่านศูนย์กลางตามมาตรฐาน มอก. กำหนดไว้ เป็นเหล็กใหม่ผิวสะอาด และไม่มีรอยแตกร้าว เป็นต้น อย่างที่ทราบว่าคอนกรีตมีคุณสมบัติในการรับแรงอัดได้สูง แต่จะเปราะบาง และอ่อนแอต่อการรับแรงดึง ดังนั้นจึงต้องนำเหล็กเส้นมาเสริม เนื่องจากเหล็กเส้นมีคุณสมบัติในการรับแรงอัด…

รู้หรือไม่ เหล็กเส้นก่อสร้างมีลักษณะอย่างไร

รู้หรือไม่ เหล็กเส้นก่อสร้างมีลักษณะอย่างไร

รู้หรือไม่ เหล็กเส้นก่อสร้างมีลักษณะอย่างไร รู้หรือไม่ เหล็กเส้นก่อสร้างมีลักษณะอย่างไร ก่อนที่เราจะนำเหล็กเส้นไปใช้ในงานก่อสร้าง เรามาทำความรู้จักกับลักษณะของเหล็กเส้นกันก่อนว่าเล็กเส้นนั้นมีลักษณะอย่างไร ซึ่งวันนี้แอดมินมีคำตอบมาฝากกันค่ะ รู้ก่อนซื้อ เหล็กเส้นคืออะไร เหล็กเส้นกลมเหมาะสำหรับงานก่อสร้างแบบใดบ้าง เหล็กเส้นราคาเท่าไหร่ ? เหล็กเส้นก่อสร้างจะมีลักษณะเป็นเส้นตรง โดยความยาวของเหล็กที่ได้รับความนิยมในวงการก่อสร้างจะอยู่ที่ 10 เมตร และ 12 เมตร ซึ่งเหล็กชนิดนี้จะมีลักษณะกลม มีเส้นผ่าศูนย์กลางเป็นหน่วยนับมิลลิเมตร…

ข้อกำหนดในการก่อสร้างที่ใช้เหล็กเส้นเสริมคอนกรีต

ข้อกำหนดในการก่อสร้างที่ใช้เหล็กเส้นเสริมคอนกรีต

ข้อกำหนดในการก่อสร้างที่ใช้เหล็กเส้นเสริมคอนกรีต ข้อกำหนดในการก่อสร้างที่ใช้เหล็กเส้นเสริมคอนกรีต เหล็กเสริมในคอนกรีตมีความสำคัญมากในการรับแรงดัด และแรงดึงที่เกิดขึ้นในโครงสร้าง เนื่องจากคอนกรีตไม่สามารถรับแรงเหล่านี้ได้ดี ดังนั้นเหล็กเสริมจึงจำเป็นจะต้องมีคุณสมบัติที่เหนียว และยืดหยุ่นได้ไปพร้อม ๆ กัน ซึ่งเหล็กที่นิยมนำมาเสริมคอนกรีตคือ เหล็กเส้น แล้วจะมีข้อกำหนดอะไรบ้าง ไปดูกันเลยค่ะ ข้อกำหนดการก่อสร้างที่ใช้เหล็กเส้นเสริมคอนกรีต ตามมาตรฐาน มยพ 1103-52 เหล็กเส้นเสริมคอนกรีตต้องเป็นเหล็กเส้นใหม่ที่ไม่เคยใช้งานมาก่อน และไม่มีรอยแตกร้าว เหล็กเส้นเสริมคอนกรีตต้องมีผิวสะอาด…

ประเภทของเหล็กที่ใช้ในงานสถาปัตยกรรม

ประเภทของเหล็กที่ใช้ในงานสถาปัตยกรรม

ประเภทของเหล็กที่ใช้ในงานสถาปัตยกรรม ประเภทของเหล็กที่ใช้ในงานสถาปัตยกรรม หลาย ๆ คนอาจจะมีข้อสงสัยว่าเหล็กที่ใช้ในงานสถาปัตยกรรม หรืองานก่อสร้างนั้นมีกี่ประเภท ซึ่งเหล็กที่ใช้ในงานสถาปัตยกรรม หรืองานก่อสร้างนั้น หลัก ๆ จะแบ่งออกได้ 2 ประเภทใหญ่ ๆ คือ เหล็กเสริม (Reinforcing Steel) และเหล็กรูปพรรณ (Structural…