เหล็กเส้นขายเป็นเส้นหรือกิโลกรัม

เหล็กเส้นขายเป็นเส้นหรือกิโลกรัม

นเรื่องของการสั่งซื้อเหล็กเส้นของผู้รับเหมา บางครั้งก็ทำให้เจ้าของบ้านหรือผู้ว่าจ้างเกิดความสงสัยอยู่เหมือนกัน เพราะบางครั้งการสั่งเหล็กเส้นของผู้รับเหมาก่อสร้าง ที่บางครั้งสั่งเป็นเส้น แต่บางครั้งก็สั่งเป็นกิโลกรัม เรื่องนี้เป็นเรื่องที่ต้องอธิบายให้เจ้าของบ้านทราบว่ามันแตกต่างกันอย่างไร

เหล็กเส้น มอก. มีการตรวจสอบอะไรบ้าง

เหล็กเส้น มอก. มีการตรวจสอบอะไรบ้าง

เหล็กเส้น มอก. มีการตรวจสอบอะไรบ้าง เหล็กเส้นเป็นวัสดุที่ใช้ในงานก่อสร้างร่วมกับคอนกรีต ซึ่งโครงสร้างต่าง ๆ ไม่ว่าจะเป็น บ้าน อาคาร สะพานต่างก็ต้องการความแข็งแรง หากเราเลือกใช้เหล็กเส้นที่ไม่ได้มาตรฐานโครงสร้างต่าง ๆ อาจจะทรุด หรือพังลงมาได้ ดังนั้น การเลือกใช้เหล็กเส้นที่ได้มาตรฐาน มอก. จึงเป็นสิ่งสำคัญมาก โดยปกติแล้วเวลาที่เราซื้อเหล็กเส้นก่อสร้างจากร้านค้ามาแล้วนั้น บางคนอาจจะไม่ได้ตรวจสอบว่าเหล็กเส้นที่ซื้อมานั้นตรงตามมาตรฐานมอก. หรือไม่ หรือไม่รู้ว่าจะต้องตรวจสอบตรงไหนบ้าง

เหล็กเส้นที่สนิมขึ้นควรจัดการอย่างไรดี

เหล็กเส้นที่สนิมขึ้นควรจัดการอย่างไรดี

เหล็กเส้นที่สนิมขึ้นควรจัดการอย่างไรดี เหล็กเส้น เป็นเหล็กเสริมที่ใช้สำหรับงานก่อสร้างบ้านเรือน อาคาร คอนโด หรือสำหรับเสริมงานคอนกรีต งานถนน งานสะพานต่างระดับที่ต้องใช้เหล็กเส้นใหญ่ ๆ พวกเหล็กเส้นข้ออ้อย เหล็กเส้นเบา หรือเหล็กเส้นเต็มจะใช้งานต่างกันไป และขึ้นอยู่กับความจำเป็นของเนื้องานที่จะใช้

ชวนให้รู้จักเหล็กเส้นกลมรีดซ้ำให้มากขึ้น

ชวนให้รู้จักเหล็กเส้นกลมรีดซ้ำให้มากขึ้น

ชวนให้รู้จักเหล็กเส้นกลมรีดซ้ำให้มากขึ้น ส่วนใหญ่แล้วโครงสร้างบ้านจะนิยมนำเหล็กเส้นมาเป็นเหล็กเสริมคอนกรีต โดยนำมาใช้ทำส่วนต่าง ๆ ของบ้าน ไม่ว่าจะเป็น เสา คาน พื้น รวมถึงผนังก่ออิฐ ซึ่งหน้าที่ของเหล็กเส้นในโครงสร้างเสริมคอนกรีตก็คือการรับแรงดึง ในขณะที่คอนกรีตทำหน้าที่รับแรงอัด หรือแรงกด

ทำความรู้จักกับหน่วยหุนของเหล็กเส้น

ทำความรู้จักกับหน่วยหุนของเหล็กเส้น

ทำความรู้จักกับหน่วยหุนของเหล็กเส้น เนื่องจากผู้รับเหมา หรือผู้ที่ทำงานอยู่ในวงการก่อสร้างบางคนเรียกชื่อเหล็กเส้นแต่ละชนิดแตกต่างกันตามความถนัดของแต่ละคน หนึ่งในนั้นคือการเรียกเหล็กเส้น เป็นหุน

เหล็กเส้นราคาแพงจริงไหม

เหล็กเส้นราคาแพงจริงไหม

เหล็กเส้นราคาแพงจริงไหม เหล็กเส้นเป็นวัสดุที่ใช้ในงานก่อสร้างร่วมกับคอนกรีต ซึ่งโครงสร้างต่าง ๆ ไม่ว่าจะเป็น บ้าน อาคาร สะพานต่างก็ต้องการความแข็งแรง หากเราเลือกใช้เหล็กเส้นที่ราคาถูก ไม่ได้มาตรฐานโครงสร้างต่าง ๆ อาจจะทรุด หรือพังลงมาได้

ปัจจัยในการเลือกเหล็กเส้นข้ออ้อย

ปัจจัยในการเลือกเหล็กเส้นข้ออ้อย

ปัจจัยในการเลือกเหล็กเส้นข้ออ้อย ในงานรับเหมาก่อสร้าง วัสดุที่ได้รับความนิยมและมักถูกนำมาใช้ในงานก่อสร้างก็คือ เหล็กเส้น ซึ่งส่วนมากใช้ในงานโครงสร้าง เป็นตัวโครงเพิ่มความแข็งแรงและยืดหยุ่นภายในให้กับเสา พื้น และผนัง

กรรมวิธีการผลิตเหล็กเส้น

กรรมวิธีการผลิตเหล็กเส้น

กรรมวิธีการผลิตเหล็กเส้น เหล็กเส้นเป็นเหล็กรูปพรรณชนิดหนึ่ง สำหรับใช้ในงานก่อสร้างที่มีความสำคัญมาก โดยสามารถนำเหล็กเส้นไปทำงานประเภทเสริมคอนกรีต ทำหน้าที่ในการรองรับแรง เพิ่มความมั่งคงให้กับโครงสร้าง ซึ่งนิยมใช้กับงานโครงสร้างเสริมคอนกรีต ทั้งการทำเป็นเสา คาน พื้น ล้วนแล้วแต่ต้องใช้เหล็กเส้นในการยึด เกาะผสานกับคอนกรีต เหล็กเส้นที่มีคุณภาพจึงสำคัญต่อการก่อสร้างอาคารบ้านเรือนอย่างยิ่ง เพราะการใช้เหล็กเส้นที่ไม่ได้มาตรฐานอาจส่งผลเสียต่อโครงสร้างการใช้งานในอนาคตได้  วันนี้จึงจะพามารู้จักกรรมวิธีการผลิตเหล็กเส้นกันให้มากขึ้นค่ะ

ความนิยมของเหล็กเส้นในปัจจุบัน

ความนิยมของเหล็กเส้นในปัจจุบัน

ความนิยมของเหล็กเส้นในปัจจุบัน ส่วนใหญ่ในการก่อสร้างบ้าน อาคารพาณิชย์ ตึกแถว คอนโดมิเนียมและอื่น ๆ จำเป็นต้องมีเหล็กเส้นเป็นส่วนประกอบ หรือเป็นส่วนเสริมเพื่อให้งานก่อสร้างสำเร็จไปได้ด้วยดี และเหล็กเส้นมีหลากหลายรูปแบบ ขึ้นอยู่กับความจำเป็นและลักษณะในการใช้งานเหล็กเส้น จะเห็นได้ว่าเหล็กเส้นเป็นสิ่งที่จำเป็นในชีวิตประจำวันมาก เพราะถ้าไม่มีเหล็กเส้น เราก็ไม่มีที่อยู่อาศัยและอื่น ๆ วันนี้จึงจะพามาดูความนิยมของเหล็กเส้น

เลือกใช้งานเหล็กเส้นกลมให้เหมาะสมกับงานก่อสร้าง

เลือกใช้งานเหล็กเส้นกลมให้เหมาะสมกับงานก่อสร้าง

เลือกใช้งานเหล็กเส้นกลมให้เหมาะสมกับงานก่อสร้าง โดยปกติแล้วเหล็กเส้นกลม ในกลุ่มวิศวกร ผู้รับเหมาและช่างก่อสร้างจะนิยมนำเหล็กเส้นกลมมาใช้เป็นเหล็กเสริมในงานโครงสร้างต่าง ๆ ยกตัวอย่าง เช่น ปลอกเสา ปลอกคาน โครงถนน หรือตะแกรงเหล็กสำหรับงานพื้น รวมไปถึงนำมาใช้ในงานก่อสร้างขนาดเล็กและขนาดกลาง เป็นต้น ซึ่งเหล็กเส้นกลม คือ เหล็กเส้นที่มีลักษณะหน้าตัดกลม และลักษณะพื้นผิวที่เรียบเกลี้ยง ไม่มีรอยปริแตก ไม่มีปีก ไม่เบี้ยว และไม่มีลูกคลื่น ตลอดความยาวของเส้น เหล็กเส้นกลมมีคุณสมบัติที่คงทน แข็งแรง และสามารถรับแรงดึงที่จุดครากได้ประมาณ 2400 ksc. หรือชั้นคุณภาพ SR24 จึงทำให้เหล็กเส้นกลมเหมาะสำหรับการนำมาใช้ในการยึดเหนี่ยวและถ่ายแรงระหว่างเหล็กและคอนกรีตได้อย่างมีประสิทธิภาพ แต่รู้หรือไม่ว่าเหล็กเส้นกลมยังจำแนกชนิดของเหล็กเส้นกลมอีก  4 ประเภท แตกต่างกันที่ความยาวและน้ำหนักของเหล็กเส้นกลม สำหรับผู้รับเหมาที่กำลังเช็คขนาดของเหล็กเส้นกลม ที่เหมาะกับงานก่อสร้างสามารถดูได้จากขนาดแต่ละแบบ