เหล็กเส้นมีวิธีตรวจสอบอย่างไร

เหล็กเส้นมีวิธีตรวจสอบอย่างไร

เหล็กเส้นมีวิธีตรวจสอบอย่างไร ก่อนที่เราจะนำเหล็กเส้นไปใช้ในงานก่อสร้าง เพื่อให้ได้โครงสร้างที่ได้มาตรฐาน เราจะต้องตรวจสอบคุณภาพของเหล็กเส้นก่อนว่าได้ตามมาตรฐานหรือไม่ เนื่องจากเหล็กเส้นก็เหมือนกับสินค้าทั่วไป ก็คือ จะต้องมีป้ายฉลากบอกรายละเอียดสินค้า เมื่อมีการผลิตเหล็กเส้นออกจำหน่าย ผู้ผลิตจะต้องติดป้ายเหล็กเพื่อบอกรายละเอียดที่เป็นข้อมูลสำคัญ

เหล็กเส้นมีวิธีการผลิตอย่างไร

เหล็กเส้นมีวิธีการผลิตอย่างไร

เหล็กเส้นมีวิธีการผลิตอย่างไร เหล็กเส้นถือเป็นส่วนประกอบที่สำคัญมาก ในงานโครงสร้างเสริมคอนกรีตที่มีความสำคัญไม่แพ้กับคอนกรีตเลยก็ว่าได้ โดยเหล็กเส้นจะทำหน้าในการรับแรงดึง ส่วนคอนกรีตจะทำหน้าที่รับแรงอัด หรือแรงกด นอกจากนี้ความสามารถในการรับแรงดึงของเหล็กเส้นก็จะขึ้นอยู่กับขนาดของเส้นผ่านศูนย์กลางของเหล็กเส้นด้วย และส่วนประกอบทางเคมีในเนื้อเหล็ก

เหตุผลที่ดัดเหล็กเส้นแล้วหัก

เหตุผลที่ดัดเหล็กเส้นแล้วหัก

เหตุผลที่ดัดเหล็กเส้นแล้วหัก อย่างที่หลาย ๆ คนทราบกันดีอยู่แล้วว่าเหล็กเส้นเป็นวัสดุก่อสร้างที่นิยมนำมาใช้ในงานเสริมคอนกรีต เนื่องจากเหล็กเส้นสามารถรับแรงอัดได้สูง หากใครที่ใช้งานเหล็กเส้นในการเสริมคอนกรีตก็มักจะเจอกับปัญหาในเรื่องของการดัดเหล็กเส้น 

เหล็กเส้นคอนกรีตขึ้นสนิม ซ่อมได้

เหล็กเส้นคอนกรีตขึ้นสนิม ซ่อมได้

เหล็กเส้นคอนกรีตขึ้นสนิม ซ่อมได้ ประเทศไทยเป็นประเทศที่ฝนตกชุก ทำให้เกิดความชื้นต่อโครงสร้างบ้านก่อให้เกิดสนิมกินเหล็กเส้นเสริมข้างในคอนกรีตจนทำให้ปูนปริและดันจนร่วงหล่นลงมา ถ้าหากคุณกำลังเผชิญปัญหานี้อยู่อย่าพึ่งกังวล วันนี้แอดมินได้นำแนวทางแก้ไขมาฝากกันค่ะ ลองมาดูกันเลยว่ามีขั้นตอนอย่างไรบ้าง ตรวจสอบเบื้องต้นว่าสนิมกัดกินเหล็กเส้นไปมากน้อยเพียงใด แต่ถ้าถึงขนาดที่สนิมกินเหล็กเส้นจนขาดไปแล้ว คุณต้องปรึกษากับวิศวกรเพื่อทำการแก้ไขในแนวทางอื่นแทน อาจใส่ค้ำยันในบริเวณที่ต้องจัดการ เพื่อช่วยถ่ายแรงป้องกันการล้มเหลวในการรับน้ำหนักของโครงสร้าง ทำการสกัดคอนกรีตในบริเวณที่เกิดสนิมออกให้หมด ขัดสนิมออกจากเหล็กเส้นเสริมโครงสร้างออกให้หมด อาจใช้เกรียงเหล็กขูดหรือแปรงทองเหลืองช่วย หากเหล็กมีขนาดหน้าตัดน้อยกว่า 20% จากเกิด อาจทำการเสริมเหล็กเส้นเข้าไปด้วยการทาบและเชื่อม ทำความสะอาดพื้นผิวของเหล็กเส้นและคอนกรีตให้เรียบร้อย…

เหล็กเส้นไม่เต็ม คืออะไร

เหล็กเส้นไม่เต็ม คืออะไร

เหล็กเส้นไม่เต็ม คืออะไร สำหรับช่างก่อสร้าง ผู้รับเหมาที่มีความรู้ด้านเหล็ก อาจจะรู้อยู่แล้วว่าเหล็กเส้นไม่เต็มคืออะไร แต่สำหรับคนธรรมดาทั่วไปถ้าหากไปซื้อเหล็กแล้วคนขายถามว่าเอาเหล็กเส้นเต็มหรือไม่เต็ม คงจะงงอยู่ไม่น้อยเลยทีเดียว เพราะฉะนั้นวันนี้แอดมินจะนำสาระความรู้เล็ก ๆ น้อย ๆ มาฝากในเรื่องเหล็กเส้นไม่เต็ม มาดูกันเลยค่ะว่าแตกต่างจากเหล็กทั่วไปอย่างไรบ้าง 1.เหล็กเส้นไม่เต็มคือ เหล็กเส้นที่ไม่ผ่านมาตรฐานในการผลิต เนื่องจากอาจจะผิดเกณฑ์ทางเทคนิคในการผลิต ประสิทธิภาพในการนำไปใช้งาน คุณภาพของที่นำมาใช้ในกระบวนการผลิต หรือวิธีการตรวจสอบ โดยคุณสมบัติที่สำคัญในการผลิตเหล็กเส้นคือ…

ก่อผนังอิฐทำไมต้องใช้เหล็กเส้นเสริมคอนกรีต

ก่อผนังอิฐทำไมต้องใช้เหล็กเส้นเสริมคอนกรีต

ก่อผนังอิฐทำไมต้องใช้เหล็กเส้นเสริมคอนกรีต สำหรับงานก่อสร้างอาคารทุกชนิด การขึ้นโครงสร้างไม่ว่าจะเป็นการเทพื้นคอนกรีตหรือก่อผนัง จำเป็นต้องมีเหล็กเส้นเสียบเป็นตัวเชื่อมในการยึดเกาะบริเวณผนังชนผนัง หรือผนังชนเสาเอ็นคานเอ็น เราเรียกเหล็กเส้น เหล็กกลม หรือเหล็กหนวดกุ้ง ซึ่งจะทำหน้าที่ช่วยประสานผนังอิฐก่อไม่ให้เกิดการแตกร้าว 1.เชื่อมเหล็กเส้นหนวดกุ้งทุกระยะ เพิ่มการยึดเกาะ สิ่งที่ต้องคำนึงถึงเป็นพิเศษในงานผนังของบ้านโครงสร้างเหล็ก คือการเชื่อมเหล็กเส้น (หนวดกุ้ง) กับเสาเหล็กให้สม่ำเสมอ เพื่อให้อิฐเกาะกับเสาเหล็กได้อย่างแข็งแรง โดยนำเหล็กหนวดกุ้งที่มาจากเหล็กเส้นกลมขนาดเส้นผ่านศูนย์กลาง 6 มม. ตัดความยาวประมาณ…

เหล็กเดือยกับเหล็กเส้นเกี่ยวข้องกันอย่างไร (2)

เหล็กเดือยกับเหล็กเส้นเกี่ยวข้องกันอย่างไร

เหล็กเดือยกับเหล็กเส้นเกี่ยวข้องกันอย่างไร เหล็กเดือยเป็นเหล็กที่ไว้ยึดเกาะระหว่างเหล็กเสริมเสาเข็มกับรากฐานให้มีความมั่นคงแข็งแรง งานโครงสร้างที่เกี่ยวข้อง เช่น สระว่ายน้ำ รั่วเขต อาคารจอดรถ ป้ายโฆษณา กำแพง คันดิน เขื่อนเก็บน้ำ  เป็นต้น เหล็กเดือยหรือเหล็ก โดเวล Dowel Bar  คือเหล็กเส้นกลมที่ตัดเป็นท่อน ๆ ขนาดไม่ยาวมากนักใช้เสริมคอนกรีตในแนวกว้าง หรือเสริมรอยต่อของคอนกรีต…

ศัพท์ช่างเรียกขนาดของเหล็กเส้น

ศัพท์ช่างเรียกขนาดของเหล็กเส้น

ศัพท์ช่างเรียกขนาดของเหล็กเส้น เนื่องจากผู้รับเหมาหรือผู้ที่ทำงานอยู่ในวงการก่อสร้างบางคนเรียกชื่อเหล็กเส้นแต่ละชนิดแตกต่างกันตามความถนัดและความเคยชินของแต่ละคน หนึ่งในนั้นคือการเรียกเหล็กเส้นเป็นหุน เราจึงนำเกร็ดสาระความรู้เรื่องการเรียกเหล็กเป็นหุนมาฝากค่ะ ขนาด 1 นิ้ว ของไม้บรรทัด หากเทียบเป็นเซนติเมตร จะยาวเท่ากับ 25 มิลลิเมตร หรือ 2.50 เซนติเมตร (ตัวเลขที่ถูกต้องสำหรับวิศวกรใช้คือ 2.54 เซนติเมตร) ความยาว 1…

ความแตกต่างของเหล็กข้ออ้อย และเหล็กเส้นกลม

ความแตกต่างของเหล็กข้ออ้อย และเหล็กเส้นกลม

ความแตกต่างของเหล็กข้ออ้อย และเหล็กเส้นกลม ในงานก่อสร้างแทบจะทุกประเภท จะต้องมีเหล็กเส้นก่อสร้าง เข้ามามีบทบาทในการดำเนินงานไม่ใช่น้อย ทั้งงานพื้น งานเสา งานคาน ซึ่งการเลือกใช้ประเภทและขนาดให้เหมาะสม ซึ่งวันนี้เราจะมาทำความรู้จักกับเหล็กเส้นข้ออ้อย และเหล็กเส้นกลมกันค่ะ ข้อแตกต่างเหล็กเส้นกลมและเหล็กเส้นข้ออ้อย 1.เหล็กเส้นกลม  มีลักษณะกลมผิวเรียบเกลี้ยง ใช้กับงานก่อสร้างขนาดเล็ก ถึง ขนาดกลาง  สามารถรับแรงดึง ประมาณ 2400…

มอก. ของเหล็กเส้นสำคัญอย่างไรกับงานก่อสร้าง

มอก. ของเหล็กเส้นสำคัญอย่างไรกับงานก่อสร้าง

มอก. ของเหล็กเส้นสำคัญอย่างไรกับงานก่อสร้าง มอก. ของเหล็กเส้นสำคัญอย่างไรกับงานก่อสร้าง เหล็กเส้นเป็นวัสดุที่ใช้ในงานก่อสร้างร่วมกับคอนกรีต ซึ่งโครงสร้างต่าง ๆ ไม่ว่าจะเป็น บ้าน อาคาร สะพานต่างก็ต้องการความแข็งแรง หากเราเลือกใช้เหล็กเส้นที่ไม่ได้มาตรฐานโครงสร้างต่าง ๆ อาจจะทรุด หรือพังลงมาได้ ดังนั้น การเลือกใช้เหล็กเส้นที่ได้มาตรฐาน มอก. จึงเป็นสิ่งสำคัญมาก ๆ…