ทำความรู้จักกับหน่วยหุนของเหล็กเส้น

ทำความรู้จักกับหน่วยหุนของเหล็กเส้น

ทำความรู้จักกับหน่วยหุนของเหล็กเส้น เนื่องจากผู้รับเหมา หรือผู้ที่ทำงานอยู่ในวงการก่อสร้างบางคนเรียกชื่อเหล็กเส้นแต่ละชนิดแตกต่างกันตามความถนัดของแต่ละคน หนึ่งในนั้นคือการเรียกเหล็กเส้น เป็นหุน

เหล็กเส้นราคาแพงจริงไหม

เหล็กเส้นราคาแพงจริงไหม

เหล็กเส้นราคาแพงจริงไหม เหล็กเส้นเป็นวัสดุที่ใช้ในงานก่อสร้างร่วมกับคอนกรีต ซึ่งโครงสร้างต่าง ๆ ไม่ว่าจะเป็น บ้าน อาคาร สะพานต่างก็ต้องการความแข็งแรง หากเราเลือกใช้เหล็กเส้นที่ราคาถูก ไม่ได้มาตรฐานโครงสร้างต่าง ๆ อาจจะทรุด หรือพังลงมาได้

กรรมวิธีการผลิตเหล็กเส้น

กรรมวิธีการผลิตเหล็กเส้น

กรรมวิธีการผลิตเหล็กเส้น เหล็กเส้นเป็นเหล็กรูปพรรณชนิดหนึ่ง สำหรับใช้ในงานก่อสร้างที่มีความสำคัญมาก โดยสามารถนำเหล็กเส้นไปทำงานประเภทเสริมคอนกรีต ทำหน้าที่ในการรองรับแรง เพิ่มความมั่งคงให้กับโครงสร้าง ซึ่งนิยมใช้กับงานโครงสร้างเสริมคอนกรีต ทั้งการทำเป็นเสา คาน พื้น ล้วนแล้วแต่ต้องใช้เหล็กเส้นในการยึด เกาะผสานกับคอนกรีต เหล็กเส้นที่มีคุณภาพจึงสำคัญต่อการก่อสร้างอาคารบ้านเรือนอย่างยิ่ง เพราะการใช้เหล็กเส้นที่ไม่ได้มาตรฐานอาจส่งผลเสียต่อโครงสร้างการใช้งานในอนาคตได้  วันนี้จึงจะพามารู้จักกรรมวิธีการผลิตเหล็กเส้นกันให้มากขึ้นค่ะ

ความนิยมของเหล็กเส้นในปัจจุบัน

ความนิยมของเหล็กเส้นในปัจจุบัน

ความนิยมของเหล็กเส้นในปัจจุบัน ส่วนใหญ่ในการก่อสร้างบ้าน อาคารพาณิชย์ ตึกแถว คอนโดมิเนียมและอื่น ๆ จำเป็นต้องมีเหล็กเส้นเป็นส่วนประกอบ หรือเป็นส่วนเสริมเพื่อให้งานก่อสร้างสำเร็จไปได้ด้วยดี และเหล็กเส้นมีหลากหลายรูปแบบ ขึ้นอยู่กับความจำเป็นและลักษณะในการใช้งานเหล็กเส้น จะเห็นได้ว่าเหล็กเส้นเป็นสิ่งที่จำเป็นในชีวิตประจำวันมาก เพราะถ้าไม่มีเหล็กเส้น เราก็ไม่มีที่อยู่อาศัยและอื่น ๆ วันนี้จึงจะพามาดูความนิยมของเหล็กเส้น

เลือกใช้งานเหล็กเส้นกลมให้เหมาะสมกับงานก่อสร้าง

เลือกใช้งานเหล็กเส้นกลมให้เหมาะสมกับงานก่อสร้าง

เลือกใช้งานเหล็กเส้นกลมให้เหมาะสมกับงานก่อสร้าง โดยปกติแล้วเหล็กเส้นกลม ในกลุ่มวิศวกร ผู้รับเหมาและช่างก่อสร้างจะนิยมนำเหล็กเส้นกลมมาใช้เป็นเหล็กเสริมในงานโครงสร้างต่าง ๆ ยกตัวอย่าง เช่น ปลอกเสา ปลอกคาน โครงถนน หรือตะแกรงเหล็กสำหรับงานพื้น รวมไปถึงนำมาใช้ในงานก่อสร้างขนาดเล็กและขนาดกลาง เป็นต้น ซึ่งเหล็กเส้นกลม คือ เหล็กเส้นที่มีลักษณะหน้าตัดกลม และลักษณะพื้นผิวที่เรียบเกลี้ยง ไม่มีรอยปริแตก ไม่มีปีก ไม่เบี้ยว และไม่มีลูกคลื่น ตลอดความยาวของเส้น เหล็กเส้นกลมมีคุณสมบัติที่คงทน แข็งแรง และสามารถรับแรงดึงที่จุดครากได้ประมาณ 2400 ksc. หรือชั้นคุณภาพ SR24 จึงทำให้เหล็กเส้นกลมเหมาะสำหรับการนำมาใช้ในการยึดเหนี่ยวและถ่ายแรงระหว่างเหล็กและคอนกรีตได้อย่างมีประสิทธิภาพ แต่รู้หรือไม่ว่าเหล็กเส้นกลมยังจำแนกชนิดของเหล็กเส้นกลมอีก  4 ประเภท แตกต่างกันที่ความยาวและน้ำหนักของเหล็กเส้นกลม สำหรับผู้รับเหมาที่กำลังเช็คขนาดของเหล็กเส้นกลม ที่เหมาะกับงานก่อสร้างสามารถดูได้จากขนาดแต่ละแบบ

ข้อดีและข้อเสียเหล็กเส้น

ข้อดีและข้อเสียเหล็กเส้น

สำหรับงานก่อสร้างทั้งงานก่อสร้างที่เป็นงานทั่วไป งานขึ้นรูป หรืองานก่อสร้างโครงสร้างขนาดใหญ่ แน่นอนว่า เหล็กเส้นเป็นวัสดุที่มีสำคัญสำหรับใช้เสริมความแข็งแกร่งให้แก่โครงสร้างที่ต้องใช้รับแรงทั้งงานคอนกรีตและงานก่ออิฐ ซึ่งเป็นสิ่งที่คนที่ทำงานก่อสร้างจะรู้จักเป็นอย่างดี โดยเหล็กเส้นมีบทบาทสำคัญในงานก่อสร้างมากและมีความจำเป็นที่ต้องนำมาใช้ในงานก่อสร้างแทบทุกงานเลยก็ว่าได้

เหล็กเส้นไม่เต็ม คืออะไร

เหล็กเส้นไม่เต็ม คืออะไร

เหล็กเส้นไม่เต็ม คืออะไร สำหรับช่างก่อสร้าง ผู้รับเหมาที่มีความรู้ด้านเหล็ก อาจจะรู้อยู่แล้วว่าเหล็กเส้นไม่เต็มคืออะไร แต่สำหรับคนธรรมดาทั่วไปถ้าหากไปซื้อเหล็กแล้วคนขายถามว่าเอาเหล็กเส้นเต็มหรือไม่เต็ม คงจะงงอยู่ไม่น้อยเลยทีเดียว เพราะฉะนั้นวันนี้แอดมินจะนำสาระความรู้เล็ก ๆ น้อย ๆ มาฝากในเรื่องเหล็กเส้นไม่เต็ม มาดูกันเลยค่ะว่าแตกต่างจากเหล็กทั่วไปอย่างไรบ้าง 1.เหล็กเส้นไม่เต็มคือ เหล็กเส้นที่ไม่ผ่านมาตรฐานในการผลิต เนื่องจากอาจจะผิดเกณฑ์ทางเทคนิคในการผลิต ประสิทธิภาพในการนำไปใช้งาน คุณภาพของที่นำมาใช้ในกระบวนการผลิต หรือวิธีการตรวจสอบ โดยคุณสมบัติที่สำคัญในการผลิตเหล็กเส้นคือ…

ก่อผนังอิฐทำไมต้องใช้เหล็กเส้นเสริมคอนกรีต

ก่อผนังอิฐทำไมต้องใช้เหล็กเส้นเสริมคอนกรีต

ก่อผนังอิฐทำไมต้องใช้เหล็กเส้นเสริมคอนกรีต สำหรับงานก่อสร้างอาคารทุกชนิด การขึ้นโครงสร้างไม่ว่าจะเป็นการเทพื้นคอนกรีตหรือก่อผนัง จำเป็นต้องมีเหล็กเส้นเสียบเป็นตัวเชื่อมในการยึดเกาะบริเวณผนังชนผนัง หรือผนังชนเสาเอ็นคานเอ็น เราเรียกเหล็กเส้น เหล็กกลม หรือเหล็กหนวดกุ้ง ซึ่งจะทำหน้าที่ช่วยประสานผนังอิฐก่อไม่ให้เกิดการแตกร้าว 1.เชื่อมเหล็กเส้นหนวดกุ้งทุกระยะ เพิ่มการยึดเกาะ สิ่งที่ต้องคำนึงถึงเป็นพิเศษในงานผนังของบ้านโครงสร้างเหล็ก คือการเชื่อมเหล็กเส้น (หนวดกุ้ง) กับเสาเหล็กให้สม่ำเสมอ เพื่อให้อิฐเกาะกับเสาเหล็กได้อย่างแข็งแรง โดยนำเหล็กหนวดกุ้งที่มาจากเหล็กเส้นกลมขนาดเส้นผ่านศูนย์กลาง 6 มม. ตัดความยาวประมาณ…

เหล็กเดือยกับเหล็กเส้นเกี่ยวข้องกันอย่างไร (2)

เหล็กเดือยกับเหล็กเส้นเกี่ยวข้องกันอย่างไร

เหล็กเดือยกับเหล็กเส้นเกี่ยวข้องกันอย่างไร เหล็กเดือยเป็นเหล็กที่ไว้ยึดเกาะระหว่างเหล็กเสริมเสาเข็มกับรากฐานให้มีความมั่นคงแข็งแรง งานโครงสร้างที่เกี่ยวข้อง เช่น สระว่ายน้ำ รั่วเขต อาคารจอดรถ ป้ายโฆษณา กำแพง คันดิน เขื่อนเก็บน้ำ  เป็นต้น เหล็กเดือยหรือเหล็ก โดเวล Dowel Bar  คือเหล็กเส้นกลมที่ตัดเป็นท่อน ๆ ขนาดไม่ยาวมากนักใช้เสริมคอนกรีตในแนวกว้าง หรือเสริมรอยต่อของคอนกรีต…

ศัพท์ช่างเรียกขนาดของเหล็กเส้น

ศัพท์ช่างเรียกขนาดของเหล็กเส้น

ศัพท์ช่างเรียกขนาดของเหล็กเส้น เนื่องจากผู้รับเหมาหรือผู้ที่ทำงานอยู่ในวงการก่อสร้างบางคนเรียกชื่อเหล็กเส้นแต่ละชนิดแตกต่างกันตามความถนัดและความเคยชินของแต่ละคน หนึ่งในนั้นคือการเรียกเหล็กเส้นเป็นหุน เราจึงนำเกร็ดสาระความรู้เรื่องการเรียกเหล็กเป็นหุนมาฝากค่ะ ขนาด 1 นิ้ว ของไม้บรรทัด หากเทียบเป็นเซนติเมตร จะยาวเท่ากับ 25 มิลลิเมตร หรือ 2.50 เซนติเมตร (ตัวเลขที่ถูกต้องสำหรับวิศวกรใช้คือ 2.54 เซนติเมตร) ความยาว 1…