เหล็กเส้นมีวิธีตรวจสอบอย่างไร ก่อนที่เราจะนำเหล็กเส้นไปใช้ในงานก่อสร้าง เพื่อให้ได้โครงสร้างที่ได้มาตรฐาน เราจะต้องตรวจสอบคุณภาพของเหล็กเส้นก่อนว่าได้ตามมาตรฐานหรือไม่ เนื่องจากเหล็กเส้นก็เหมือนกับสินค้าทั่วไป ก็คือ จะต้องมีป้ายฉลากบอกรายละเอียดสินค้า เมื่อมีการผลิตเหล็กเส้นออกจำหน่าย ผู้ผลิตจะต้องติดป้ายเหล็กเพื่อบอกรายละเอียดที่เป็นข้อมูลสำคัญ
Category: เหล็กเส้น
ทริคป้องกันผู้รับเหมาลดสเปคเหล็กเส้น
ทริคป้องกันผู้รับเหมาลดสเปคเหล็กเส้น เมื่อจะต้องใช้เหล็กเส้นในงานก่อสร้างนั้นต้องมีความรู้หลายอย่าง เพราะเหล็กเส้นเป็นเหล็กเสริมคอนกรีตที่เข้ามาช่วยในการรับแรงดึง แต่ในบางครั้งผู้รับเหมาจะลดสเปคเหล็กเส้นลง เนื่องจากมีราคาที่ค่อนข้างสูง และถ้าหากใครที่กำลังเจอกับปัญหาที่ผู้รับเหมาขอลดสเปคเหล็กเส้นอยู่ วันนี้แอดมินมีวิธีป้องกันไม่ให้ผู้รับเหมาลดสเปคเหล็กเส้นได้มาฝากกันค่ะ
เหล็กเส้นมีวิธีการผลิตอย่างไร
เหล็กเส้นมีวิธีการผลิตอย่างไร เหล็กเส้นถือเป็นส่วนประกอบที่สำคัญมาก ในงานโครงสร้างเสริมคอนกรีตที่มีความสำคัญไม่แพ้กับคอนกรีตเลยก็ว่าได้ โดยเหล็กเส้นจะทำหน้าในการรับแรงดึง ส่วนคอนกรีตจะทำหน้าที่รับแรงอัด หรือแรงกด นอกจากนี้ความสามารถในการรับแรงดึงของเหล็กเส้นก็จะขึ้นอยู่กับขนาดของเส้นผ่านศูนย์กลางของเหล็กเส้นด้วย และส่วนประกอบทางเคมีในเนื้อเหล็ก
เหตุผลที่เหล็กเส้นข้ออ้อย SD50 ต้องผ่านกระบวนการ EFA
เหตุผลที่เหล็กเส้นข้ออ้อย SD50 ต้องผ่านกระบวนการ EFA ถ้าหากเราเลือกใช้เหล็กเส้นข้ออ้อยที่ไม่มีคุณภาพ หรือไม่ผ่านมาตรฐาน จะทำให้ส่งผลกระทบต่อโครงสร้างอาคารโดยตรง และจะทำให้อาคารไม่มีความแข็งแรง แต่ถ้าหากเราเลือกใช้เหล็กเส้นข้ออ้อยที่แข็งแรง และได้มาตรฐานการผลิตเราก็จะหมดห่วงในเรื่องของอาคารที่สร้างนั้นไม่แข็งแรง
เหล็กเส้นขายเป็นเส้นหรือกิโลกรัม
นเรื่องของการสั่งซื้อเหล็กเส้นของผู้รับเหมา บางครั้งก็ทำให้เจ้าของบ้านหรือผู้ว่าจ้างเกิดความสงสัยอยู่เหมือนกัน เพราะบางครั้งการสั่งเหล็กเส้นของผู้รับเหมาก่อสร้าง ที่บางครั้งสั่งเป็นเส้น แต่บางครั้งก็สั่งเป็นกิโลกรัม เรื่องนี้เป็นเรื่องที่ต้องอธิบายให้เจ้าของบ้านทราบว่ามันแตกต่างกันอย่างไร
ความแตกต่างของเหล็กเส้นและเหล็กรูปพรรณ
ความแตกต่างของเหล็กเส้นและเหล็กรูปพรรณ ส่วนใหญ่เราจะรู้ว่าเหล็กที่นิยมนำไปแปรรูป และใช้งานต่าง ๆ จะแบ่งเป็น 2 ประเภท ได้แก่ เหล็กรูปพรรณและเหล็กเส้น ซึ่งเหล็กทั้ง 2 ประเภทนี้จะถูกแยกย่อยออกมามีชนิดอื่นตามมาอีก โดยเหล็กเส้นและเหล็กรูปพรรณมีความแตกต่างที่ผู้ใช้งานต้องรู้
เหล็กเส้น มอก. มีการตรวจสอบอะไรบ้าง
เหล็กเส้น มอก. มีการตรวจสอบอะไรบ้าง เหล็กเส้นเป็นวัสดุที่ใช้ในงานก่อสร้างร่วมกับคอนกรีต ซึ่งโครงสร้างต่าง ๆ ไม่ว่าจะเป็น บ้าน อาคาร สะพานต่างก็ต้องการความแข็งแรง หากเราเลือกใช้เหล็กเส้นที่ไม่ได้มาตรฐานโครงสร้างต่าง ๆ อาจจะทรุด หรือพังลงมาได้ ดังนั้น การเลือกใช้เหล็กเส้นที่ได้มาตรฐาน มอก. จึงเป็นสิ่งสำคัญมาก โดยปกติแล้วเวลาที่เราซื้อเหล็กเส้นก่อสร้างจากร้านค้ามาแล้วนั้น บางคนอาจจะไม่ได้ตรวจสอบว่าเหล็กเส้นที่ซื้อมานั้นตรงตามมาตรฐานมอก. หรือไม่ หรือไม่รู้ว่าจะต้องตรวจสอบตรงไหนบ้าง
เหตุผลที่ดัดเหล็กเส้นแล้วหัก
เหตุผลที่ดัดเหล็กเส้นแล้วหัก อย่างที่หลาย ๆ คนทราบกันดีอยู่แล้วว่าเหล็กเส้นเป็นวัสดุก่อสร้างที่นิยมนำมาใช้ในงานเสริมคอนกรีต เนื่องจากเหล็กเส้นสามารถรับแรงอัดได้สูง หากใครที่ใช้งานเหล็กเส้นในการเสริมคอนกรีตก็มักจะเจอกับปัญหาในเรื่องของการดัดเหล็กเส้น
เหล็กเส้นที่สนิมขึ้นควรจัดการอย่างไรดี
เหล็กเส้นที่สนิมขึ้นควรจัดการอย่างไรดี เหล็กเส้น เป็นเหล็กเสริมที่ใช้สำหรับงานก่อสร้างบ้านเรือน อาคาร คอนโด หรือสำหรับเสริมงานคอนกรีต งานถนน งานสะพานต่างระดับที่ต้องใช้เหล็กเส้นใหญ่ ๆ พวกเหล็กเส้นข้ออ้อย เหล็กเส้นเบา หรือเหล็กเส้นเต็มจะใช้งานต่างกันไป และขึ้นอยู่กับความจำเป็นของเนื้องานที่จะใช้
ชวนให้รู้จักเหล็กเส้นกลมรีดซ้ำให้มากขึ้น
ชวนให้รู้จักเหล็กเส้นกลมรีดซ้ำให้มากขึ้น ส่วนใหญ่แล้วโครงสร้างบ้านจะนิยมนำเหล็กเส้นมาเป็นเหล็กเสริมคอนกรีต โดยนำมาใช้ทำส่วนต่าง ๆ ของบ้าน ไม่ว่าจะเป็น เสา คาน พื้น รวมถึงผนังก่ออิฐ ซึ่งหน้าที่ของเหล็กเส้นในโครงสร้างเสริมคอนกรีตก็คือการรับแรงดึง ในขณะที่คอนกรีตทำหน้าที่รับแรงอัด หรือแรงกด